Home / ข้อมูลความรู้ / เปิดกรุงานวิจัย เดิน-จักรยาน : งานวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจากโครงการผลักดันการเดินและการใช้จักรยานไปสู่นโยบายสาธารณะของประเทศไทย และบทความวิชาการที่เข้าร่วมประชุม Thailand Bike & Walk Forum I & II

เปิดกรุงานวิจัย เดิน-จักรยาน : งานวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจากโครงการผลักดันการเดินและการใช้จักรยานไปสู่นโยบายสาธารณะของประเทศไทย และบทความวิชาการที่เข้าร่วมประชุม Thailand Bike & Walk Forum I & II

1. ผลงานวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจากโครงการผลักดันการเดินและการใช้จักรยานไปสู่นโยบายสาธารณะของประเทศไทย (ปี 2554-2556)

ลำดับ ชื่อเรื่อง นักวิจัย ปี 
1.1 เกณฑ์มาตรฐานทางเท้าในย่านศูนย์กลางพานิชยกรรมเมือง กรณีศึกษาย่านปทุมวัน ผศ.ดร.พนิต ภู่จินดาและคณะ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2554
1.2 การศึกษามาตรฐานการออกแบบอุปกรณ์เพื่อส่งเสริมการสัญจรทางเท้า กรณีศึกษามหาวิทยาลัยนเรศวร  ดร.วิติยา ปิดตังนาโพธิ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2554
1.3 การศึกษาและสำรวจปัจจัยที่มีผลต่อการเดินและการใช้จักรยานของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร คุณประเทือง ช่วยเกลี้ยง มูลนิธิโอกาส 2554
1.4 ทำไมคนไทยจึงไม่นิยมใช้จักรยาน ดร.จักรพิพัฒน์ อัศวบุญญาเลิศและคณะ 2554
1.5 แรงจูงใจและอุปสรรคในการใช้จักรยานสำหรับคนเดินทางด้วยจักรยานในประเทศไทย ดร.วิติยา ปิดตังนาโพธิ์และคณะ 2554
1.6 แนวทางการส่งเสริมการใช้จักรยานในเขตกรุงเทพมหานคร พื้นที่ศึกษาถนนประชาอุทิศและถนนพุทธบูชา เขตทุ่งครุ รศ.ดร.วิโรจน์ ศรีสุรภานนท์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ (โยธา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
2554
1.7 การสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้ทางเท้าในเขตเมือง พื้นที่ตัวอย่างเขตลาดกระบัง:  ผศ.กรินทร์ กลิ่นขจร และคณะ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2554
1.8 โครงการสำรวจความคิดเห็นของคนเดินทางที่มีต่อการใช้สะพานลอย ทางม้าลาย หรืออุโมงค์: ดร.ศิริมา ปัญญาเมธีกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2554
1.9 โครงการเปรียบเทียบเวลาที่ใช้ในการเดินทางในกรุงเทพมหานครระหว่างจักรยาน รถยนต์ส่วนตัว รถสาธารณะ รถแท็กซี่ และรถจักรยานยนต์ ชมรมจักรยานเพื่อ         สุขภาพแห่งประเทศไทย 2554
1.10 ปัจจัยเอื้อและปัจจัยจำกัดสำหรับการใช้จักรยานในชุมชน: กรณีศึกษา 11 จังหวัด ได้แก่
(1) กรุงเทพมหานคร
(2) มหาสารคาม
(3) ขอนแก่น
(4) อุบลราชธานี
(5) เลย
(6) นครศรีธรรมราช
(7) ชุมพร
(8) ตรัง
(9) เชียงใหม่
(10) พิษณุโลก
(11) ชลบุรี
วิยดา ทรงกิตติภักดีและคณะ 2554
1.11 สมรรถภาพทางกายและใจของผู้สูงอายุกับการปั่นจักรยานหลังวัยเกษียร  เอนก สูตรมงคล และคณะ / คณะวิศวกรรมศาสตร์การกีฬา ม.บูรพา 2554
1.12  แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการเดินในเขตชานเมืองด้วยมาตรการทางผังเมือง ดร.วนารัตน์ กรอิสรานุกูล คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2555
1.13 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการใช้ทางเท้าของผู้สูงอายุในเขตเมือง ภูมิทัศน์ถนน คุณภาพทางเท้าและพฤติกรรมการเดินของผู้สูงอายุ ดร.นวลวรรณ ทวยเจริญ คณะถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2555
1.14 โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนานโยบายสาธารณะระดับท้องถิ่นที่สนับสนุนการเดินและการใช้จักรยาน อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม:  ดร.ภัทรียา กิจเจริญ และคณะ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2555
1.15 การสำรวจความคิดเห็นของผู้ที่มีความบกพร่องทางกาย (การได้ยิน/ทางสายตา/การเคลื่อนไหว)ที่มีต่อการใช้ทางม้าลาย สะพานลอย หรืออุโมงค์ข้ามถนน:  ดร.ศิริมา ปัญญาเมธีกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2555
1.16 แนวทางการส่งเสริมการใช้จักรยานภายในมหาวิทยาลัย:  อ.วราลักษณ์ คงอ้วน และดร.สาธิดา สกุลรัตนกุลชัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต 2555
1.17 ชุดโครงการศึกษาและสำรวจข้อมูลพื้นฐานเรื่องการเดินและการขี่จักรยาน:  ดร.เกษม นครเขต 2555
1.18 การศึกษาตัวชี้วัดของรูปแบบมาตรฐานทางเท้าที่เหมาะสมในพื้นที่เมือง นรา พงษ์พานิช
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขตชุมพร
2556
1.19 การศึกษาพฤติกรรมและพัฒนารูปแบบการใช้จักรยานเชิงสุขภาพและท่องเที่ยว กรณีศึกษาการใช้จักรยานในเขตจังหวัดนครพนม ณัฐชนันท์ ปลายเนตร
วิทยาลัยธาตุพนม มหาวิทยาลัยนครพนม
2556
1.20 การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของประชาชนในการใช้จักรยานและเดินเพื่อการเชื่อมต่อกับระบบรถไฟฟ้า ดร.ศักรธร บุญทวียุวัฒน์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
2556
1.21 ความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการนำจักรยานมาใช้ในชีวิตประจำวันของครู นักเรียน และผู้ปกครองที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เขตความรับผิดชอบเทศบาลเมืองพนัสนิคม กุสุมา ถาวร
มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี
2556
1.22 บทบาทและการใช้งานพื้นที่สาธารณะในบริบททางสังคม กรณีศึกษาทางเท้าในกรุงเทพมหานคร หรรษา ศรีเลิศชัยพานิช
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
2556
1.23 การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการใช้จักรยานในชีวิตประจำวันของประชาชนไทย ธวัชชัย ดวงไทย
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่
2556
1.24 การศึกษาผลของการออกกำลังกายด้วยการขี่จักรยานต่อดัชนีมวลกายของบุคคลากรศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นงนุช แย้มวงษ์
คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์ทรวิโรฒ
2556

2. บทความวิชาการ การประชุมวิชาการการส่งเสริมการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน

(Thailand Bike and Walk Forum I & II)  ปี 2556-2557  

ลำดับ ชื่อเรื่อง นักวิจัย ปี
2.1  การประเมินผลระบบสัญญาณไฟคนเดินข้ามถนนอัจฉริยะในการช่วยคนเดินข้ามถนน (กรณีศึกษา ทางข้ามบริเวณปากซอยประชาอุทิศ 40/1) รศ.ดร.ธวัชชัย เหล่าศิริหงษ์ทองและคณะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 2556
2.2 รูปแบบทางเท้าที่เหมาะสมสำหรับพื้นที่ในเขตเมืองหลักของภูมิภาค กรณีศึกษาเทศบาลนครนครราชสีมา อาจารย์ชาตรี ควบพิมาย
มหาวิทยาลัยเทตโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
2556
2.3 อิทธิพลของสภาพแวดล้อมชุมชนเมืองต่อพฤติกรรมการเดินและการใช้ทางเท้าในเขตชุมชนชานเมือง ดร.วนารัตน์ กรอิสรานุกูล
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2556
2.4 การประเมินผลการประยุกต์ใช้หลักการดัดแปลงด้านสิ่งแวดล้อมกับถนนสายรองในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ผศ.ดร.พนกฤษณ คลังบุญครองและคณะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2556
2.5 “วัฒนธรรมจักรยาน” กับการสร้างสรรค์ “เมืองจักรยาน” กรณีศึกษา เทศบาลนครนครราชสีมา ผศ.นิคม บุญญานุสิทธิ์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
2556
2.6 อุโมงค์ ทางเลือก ทางลอดข้ามถนนสำหรับคนเดินเท้าในกทม. รศ.ดร.ศิริมา ปัญญาเมธีกุล
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2556
2.7 โครงการจักรยานสีขาว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร รศ.ดร.พงษ์ศักดิ์ สุริยวนากุลและคณะ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
2556
2.8 แนวทางการส่งเสริมการใช้จักรยานภายในมหาวิทยาลัย (5 มหาวิทยาลัย) อาจารย์วราลักษณ์ คงอ้วน และดร.สาธิดา สกุลรัตนกุลชัย
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
2556
2.9  การสร้างวัฒนธรรมการใช้จักรยานที่ยั่งยืนในมหาวิทยาลัย: ประสบการณ์จากโครงการ Active Campus ของบริษัท โคคา-โคล่า (ประเทศไทย) จำกัด นายนันทิวัต ธรรมหทัย
บริษัท โคคา-โคล่า (ประเทศไทย) จำกัด
2556 
2.10 การส่งเสริมการเดินเท้าและการใช้จักรยาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิทยาเขตขามเรียง อาจารย์พลเดช เชาวรัตน์และคณะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
2556
2.11 แนวทางการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวโดยการเดินเท้าในเขตเทศบาลเมืองเลย จังหวัดเลย รศ.ดร.รวี หาญเผชิญ และคณะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2556
2.12 การศึกษาความเป็นไปได้ในการวางผังเแม่บทพื้นที่ชุ่มน้ำบางกระสอบ เพื่อการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ รศ.สมพล ดำรงเสถียรและคณะ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
2556
2.13 วิธีส่งเสริมการขี่จักรยานในกรุงเทพมหานคร รศ.ดร.วิโรจน์ ศรีสุรภานนท์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
2556
2.14 ทำไมคนไทยจึงไม่นิยมใช้จักรยาน ธงชัย พรรณสวัสดิ์และคณะ
ชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแห่งประเทศไทย
2556
2.15  แจงจูงใจและอุปสรรค์ในการใช้จักรยานสำหรับคนที่เดินทางด้วยจักรยานในประเทศไทย ธงชัย พรรณสวัสดิ์และคณะ
ชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแห่งประเทศไทย
2556
2.16  ปัญหาและความต้องการเส้นทางและสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับจักรยานของผู้ใช้จักรยานที่อาศัยอยู่ในชุมชนริมคลองบางบัว เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร: กรณีศึกษา ชุมชนร้อยกรอง นายชยุต รัตนพงษ์และคณะ
สาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร
2556
2.17 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการใช้ทางเท้าของผู้สูงอายุในเขตเมือง: ภูมิทัศน์ถนน คุณภาพทางเท้าและพฤติกรรมการเดินของผู้สูงอายุ ดร.นวลวรรณ ทวยเจริญ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
2556
2.18 การสำรวจความต้องการของเยาวชนที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลเมืองพนัสนิคมในการขี่จักรยานมาโรงเรียน นางกัญตลักษณ์ ฤทธิ์แดงและคณะ
โรงเรียนวัฒนานุศาสน์ จังหวัดชลบุรี
2556
2.19 ผลของการเดิน วิ่ง และปั่นจักรยานสะสมต่อดัชนีมวลกาย มวลกล้ามเนื้อ และร้อยละของไขมันในร่างกายของนิสิตคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดร.พรพล พิมพาพร และนางสาวอาภัสรา อัครพันธุ์
คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2556
2.20  สมรรถภาพทางกายและใจของผู้สูงอายุ กับการปั่นจักรยานหลังวัยเกษียร เอนก สูตรมงคลและคณะ
คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา
2557
2.21 ผลดีของการเพิ่มกิจกรรมการเดินหรือการใช้จักรยานต่อตัวชีวัดทางสุขภาพต่างๆในผู้สูงอายุ ศ.นพ.ประเสริฐ อัสสันตชัยและคณะ
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
2557
2.22 การรับรู้ด้านสุขภาพและทัศนคติของประชาชนไทยต่อการเดินและการขี่จักรยาน ดร.เกษม นครเขตต์  2557
2.23 เปรียบเทียบสมรรรถภาพทางกาย และผลการตรวจทางเคมีเลือดของกลุ่มอาชีพที่มีกิจกรรมทางกายต่างกัน ดร.เกษม นครเขตต์ 2557
2.24 การประเมินผลระบบสัญญาณไฟจราจรคนเดินข้ามถนนอัจฉริยะในการช่วยคนเดินข้ามถนน กรณีศึกษา ถนนประชาอุทิศ และถนนพุทธบูชา ชิดชนก แจ้งจบและคณะ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
2557
2.25 การระบุจุดเสี่ยงอันตรายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อป้องกันอุบัติภัยทางถนนในพื้นที่บางกระเจ้า จังหวัดสมุทรปราการ นุกูลกานต์ เชิงสะอาดและคณะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2557
2.26 ผลกระทบทางด้านจราจรเนื่องมากจากการพัฒนาโครงการที่มีต่อการสัญจรของคนเดินเท้า รศ.ดร.ธวัชชัย เหล่าศิริหงษ์ทองและคณะ
มหาวิทยาลัยเทตโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
2557
2.27 อิทธิพลของปัจจัยแฝงต่อความตั้งใจใช้จักรยานของชุมชนเมืองชายทะเล ผศ.ดร.สุรเมศวร์ พิริยะวัฒน์และคณะ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
2557
2.28 ทัศนคติต่อการเลือกทางลอด/ข้ามถนนของคนเดินเท้า รวมทั้งผู้พิการในกทม. รศ.ดร.ศิริมา ปัญญาเมธีกุล
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2557
2.29 แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศด้วยจักรยาน ณ วนพุทธอุทยานน้ำตกเขาอีโต้ จังหวัดปราจีนบุรี นายทวีพล ไชยพงษ์
คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา
2557
2.30 การศึกษาบบบบลักษณะโครงสร้างทางเท้าและปัญหาที่เกิดขึ้นกับทางเท้า สำหรับคนเดินและจักรยานในกรุงเทพฯ นายชลาทิป ดาวเที่ยงและคณะ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
2557
2.31 การวิจัยแบบมีส่วนร่วมในการนำจักรยานมาใช้ในชีวิตประจำวันของประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เขตความรับผิดชอบ เทศบาลเมืองพนัสนิคม กุสุมา ถาวรและคณะ
มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี
2557
2.32 ทัศนคติและแนวโน้มพฤติกรรมการใช้จักรยานของนักเรียนและนักศึกษาในเมืองมหาสารคาม ดร.พลเดช เชาวรัตน์และคณะ
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
2557
2.33 บาทวิถึ ความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ของคนเดินเท้า มนุษย์ล้อ และผู้ใช้จักรยาน กรณีศึกษา การจัดระบบสัญจรในมหาวิทยาลัยธรรมศาตร์ ศูนย์รังสิต ภวินท์ สิริสาลี และชุมเขต แสวงเจริญ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2557
2.34 การส่งเสริมการใช้จักรยานสำหรับนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี บางมด สมภาพ สุวรรณกวีการและคณะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสต์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (บางเขน)
2557
2.35 การศึกษาการเลือกวิธีเดินทางบริเวณโดยรอบวิทยาเขตของมหาวิทยาลัย ดร.กัญจนีย์ พุทธิเมธี และ Helene TAUBAN 2557
2.36 การพัฒนาโครงข่ายทางจักรยานในเขตเทศบาลตำบลศาลายา พลชัย ศิริอินทร์
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
2557
2.37 การส่งเสริมการใช้จักรยานเพื่อเข้าสู่สถานีระบบขนส่งมวลชนแบบราง กรณีศึกษาสถานีบ้านทับช้าง ดร.สุภาพร แก้วกอ เลี่ยวไพโรจน์
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2557
2.38 แนวทางการพัฒนาระบบจักรยานเลียบคลองในเมือง กรณีศึกษาคลองแสนแสบ เพ็ญนภา สุขบุญพันธ์และคณะ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
2557
2.39 บทบาทและการใช้งานพื้นที่สาธารณะในบริบททางสังคม กรณีศึกษาทางเท้าในอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ หรรษา ศรีเลิศชัยพานิช
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
2557
2.40 ปั่นจักรยานแบบไร้หมวกกันน๊อค กรณีศึกษาประเทศเนเธอร์แลนด์ ลลิล ก่อวุฒิกุลรังษี
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2557
2.41 การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างนโยบายสาธารณะระดับท้องถิ่นที่สนับสนุนการเดินและการใช้จักรยานในอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ดร.ภัทรียา กิจเจริญและคณะ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
2557
2.42 แนวทางในการพัฒนาเมืองที่เอื้อต่อการเดินทางด้วยจักรยาน กรณีศึกษาชุมชนบ้านท่าขอนยาง-ขามเรียง จังหวัดมหาสารคาม ไกรอนันต์ สิงสีและคณะ
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
2557
2.43 จักรยานปั่นไฟฟ้าต้นแบบ ผศ.ดร.อนันต์ชัย อยู่แก้ว
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
2557
2.44 การจัดการที่จอดจักรยาน รศ.ดร.วิโรจน์ ศรีสุรภานนท์
มหาวิทยาลัยเทตโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
2557
2.45 การออกแบบชุมชนจักรยาน ออกแบบได้ กรณีศึกษา ชุมชนร่วมเกล้า ดร.ประพัทธ์พงษ์ อุปลา และคณะ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
2557

สอบถามผลงานวิจัยเพิ่มเติมได้ที่
ชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแห่งประเทศไทย
โครงการผลักดันการเดินและการใช้จักรยานไปสู่นโยบายสาธารณะของประเทศไทย
เลขที่ 15 ซอยประดิพัทธ์ 17 ถนนประดิพัทธ์ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม. 10400
โทร 02 618 4434, 02 618 5990 โทรสาร 02 618 4430
www.thaicyclingclub.org
facebook.com/thaicycling
Email: sarattcc@hotmail.com

Comments

comments

Check Also

Mn/DOT Bikeway Facility Design Manual

One comment

  1. Efficient teachers and facilities can provide long term consequences which enhances the
    habits of those kids. The gap so found can be converted
    into hypotheses. This can also make sure your stability.
    There is no doubt that one can instantly find not just the
    most inexpensive graduation garment for sale or for lease, however additionally with the most effective quality also.
    Nevertheless, there is plenty of purpose that gets into towards the perfect web net searchengine improved
    (SEO) data. If an individual wants to pursue on starting a franchise of tutors,
    then there are certain strategies for one to start, continue, and become big.
    If study table is not available, then appear for a appropriate place inside the home which is comfy for studying your lessons.

    The Brilliant Residentials study showed that 84% of secondary
    school students felt that their social connections with fellow classmates had improved, whilst 71% of primary school
    pupils agreed that they knew their teacher better afterwards.
    The locals hadnt seen an English medium school for years in the vicinity and were already sending
    their children to distant schools. Establishments will be
    as different as day and night in numerous minor aspects and finding
    a school that is a perfect fit for your child will not be a simple affair.

    https://gpa-calculator.co Thank you

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น