บางผึ้งเป็นหมู่บ้านเล็กๆ ในตำบลโคกยาง อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ทั้งหมด 1,209 คน หลังจากที่รวบรวมชาวบ้านที่ชอบออกกำลังกายและใช้จักรยานในชีวิตประจำวันก่อตั้งชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพบ้านบางผึ้งเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2554 ออกปั่นจักรยานเพื่อออกกำลังกายและชักชวนชาวบ้านที่ยังไม่ได้เป็นสมาชิกชมรม จนเป็นภาพชินตาที่มีผู้ใหญ่และเด็กรวมตัวกันที่ร้านกาแฟประจำหมู่บ้านในช่วงเช้าแล้วออกปั่นจักรยานไปเป็นกลุ่มวันละ 20-30 คนแทบทุกวัน ส่วนคนที่ไม่สะดวกในช่วงเช้าก็มีกลุ่มที่รวมตัวกันช่วงเย็นเช่นกัน เราเรียกสองกลุ่มนี้ว่า ทีมรับอรุณ กับ ที
Read More »ผังเมือฝรั่งเน้น Smart Growth
คำว่า “Smart Growth” ว่ากันว่าเป็นแนวคิดใหม่ในการผังเมืองมาจากประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อแก้การ วางผังเมืองผิด ๆ แบบเดิม จนหากไม่มีรถส่วนตัว ก็เท่ากับพิการ ไม่มีขา เพราะบ้าน ร้านค้า โรงเรียน ฯลฯ แต่ละแห่ง ห่างไกลกัน เดินกันไม่ถึง แต่ไทยเรายังเอาแนวคิดผังเมืองแบบ “พระเจ้าเหา” มาใช้
Read More »บทเรียนรู้เรื่องเมืองจักรยาน จากยุโรป
เมื่อต้นเดือนตุลาคม 2555 ชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแห่งประเทศไทยได้เชิญผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรอีซีเอฟ หรือ ECF ซึ่งเป็นคำย่อของ European Cyclists’ Federation หรือ สหพันธ์ผู้ใช้จักรยานของยุโรป ซึ่งเป็นองค์กรที่มีอิทธิพลมากต่อนโยบายและมาตรการว่าด้วยเรื่องจักรยานของทั้งโลก มาเล่าประสบการณ์ 30 ปี เกี่ยวกับการผลักดันให้เกิดเมืองจักรยานขึ้นในยุโรป ว่าเขาทำได้อย่างไรจึงสำเร็จ ซึ่งหลังจากผู้เชี่ยวชาญผู้นั้นซึ่งชื่อ ดร.เบิร์นฮาร์ท เอ็นซิงค์ และเป็นเลขาธิการของ ECF ได้ลงพื้นที่ลองขี่จักรยานบนถนนในกรุงเทพมหานครในสภาพจริง ก็ให้ข้อสรุปอย่างตรง
Read More »คาร์ฟรีเดย์ กับ คาร์ฟรีแมน
คาร์ฟรีเดย์ กับ คาร์ฟรีแมน
Read More »คาร์ ฟรี เดย์ สำหรับใคร
ผมคงต้องขอแจ้งและขอยอมรับเป็นอันดับต้นก่อนว่า ผมเป็นคนนำแนวคิดคาร์ฟรีเดย์หรือวันไร้รถยนต์เข้ามาปฏิบัติการในประเทศไทย ในปีพ.ศ.2543 หลังจากที่ได้เคยไปร่วมรณรงค์คาร์ฟรีเดย์ที่ต่างประเทศมาแล้ว 2-3 ครั้ง
Read More »ทางลาดสำหรับคนพิการ
ทางเดินลาดสำหรับคนพิการ
ทางเดินเท้าในประเทศไทยส่วนใหญ่มักไม่อยู่ในสภาพที่น่าเดินนัก แต่นั้นก็ยังพอทำเนาเพราะคนไทยอดทนสูง จึงเลือกที่จะทนเดินต่อไปโดยไม่ค่อยบ่น แต่ก็ไม่แน่ ต่อไปนี้เราอาจต้องบ่นมากขึ้นเพื่อให้ได้ทางเท้าที่เดินได้และน่าเดินในโอกาสต่อๆไป อย่างน้อยชมรมฯก็ควรจะทำหน้าที่เป็นกระบอกเสียงในเรื่องนี้ต่อสังคมไทยแทนพวกเขานะครับ
Read More »สถานการณ์และข้อเท็จจริงอันเป็นปัจจัยสำคัญ ต่อโครงการผลักดันการเดินและการใช้จักรยานไปสู่นโยบายสาธารณะของประเทศไทย: การรณรงค์ใช้จักรยานในประเทศไทย (2)
การรณรงค์ใช้จักรยานในประเทศไทย
Read More »คาร์ฟรีเดย์กับทางเท้า
คาร์ฟรีเดย์ซึ่งต่างประเทศกำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 กันยายนของทุกปี ได้เวียนมาบรรจบแล้วอีกครั้งหนึ่ง คาร์ฟรีเดย์หรือวันปลอดรถยนต์ส่วนตัวนี้ก็คล้ายๆกับวันโอโซนหรือ Ozone Day ที่ในต่างประเทศเริ่มซาความนิยมลงไป สาเหตุอาจจะเป็นเพราะทั้งสองงานนี้เป็นเพียงงานรณรงค์เชิงสัญลักษณ์เพราะมันแก้ปัญหาไม่ได้จริง คือคนใช้รถยนต์ส่วนตัวยังไม่ได้ลดการใช้รถยนต์ส่วนตัวนั้นจริง และเมื่อแก้ปัญหาไม่ได้จริง แถมกิจกรรมยังมักซ้ำอยู่กับที่อยู่หลายปีแล้ว แรงกระแทกทางสังคมจึงลดน้ำหนักลงไปตามกาลเวลา
Read More »ขี่จักรยานช่วยคุณหลีกเลี่ยงการหมดพลังทำงานได้
มี การศึกษามากมายที่ยืนยันว่าการมีกิจกรรมทางกาย (Physical Activity)เป็นประจำสม่ำเสมอลดโอกาสที่จะป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ อย่างน้อยถึง19ชนิด นอกจากนั้นยังมีผลดีต่อจิตใจด้วย ล่าสุดก็มีรายงานการวิจัยของ ดร.ชารอน โทเกอร์ และคณะ ที่มหาวิทยาลัยเทลอาวีฟ ประเทศอิสราเอล (Toker, Sharon & Biron, Michal. Job burnout and depression: Unraveling their temporal relationship and considering the role of physical activity. Journal of Applied Psychology, Vol 97(3), May 2012, 699-710.
Read More »สถานการณ์และข้อเท็จจริงอันเป็นปัจจัยสำคัญต่อโครงการผลักดันการเดินและการใช้จักรยานไปสู่นโยบายสาธารณะของประเทศไทย : ความทรงจำดีๆ (1)
ความทรงจำดีๆ
ผู้ใหญ่ทุกคนมักมีความทรงจำดีๆในอดีตหลายๆเรื่องต่อชีวิตในวัยเด็กและวัยรุ่น ที่ยังคงฝังตรึงอยู่ไม่ลืม เมื่อกล่าวถึงทีไร ก็มักชื่นชมในความสุข-สนุกสนานอย่างมีคุณค่าเหล่านั้น อยากให้เหตุการณ์หวนกลับคืนมาใหม่ แต่แล้วผู้ใหญ่ก็มักยอมจำนนว่า เป็นเรื่องเพ้อฝัน ที่จะได้ทำอะไรสนุกสนานแบบชีวิตในวัยเด็กอีก เพราะสถานการณ์วันนี้ “ได้เปลี่ยนแปลงไปแล้ว...”
Read More »